
คลิกดูรายละเอียดหรือสอบถามข้อมูล เรื่องฉนวนกันความร้อนโพลียูรีเทนโฟม,พ่นโฟมกันสนิม,พ่นโฟมป้องกันสนิม และผลิตภัณฑ์ของ Trison เลือกคลิกดูได้ ตามช่องทางที่สะดวกสำหรับลูกค้า
.jpg)
Line @ ทักแชท ทาง facebook เพื่อสอบถามข้อมูล กับเจ้าหน้าที่ รอให้คำปรึกษาท่านอยู่
ติดต่อ ฉนวนกันความร้อน พ่นโฟมกันสนิม บริษัท ไตรซัน ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด Trison development co.,ltd |
ที่อยู่ |
83/42 หมู่6 ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี 11140 |
โทร |
02-903-0507- 8 |
Fax |
02-903-0503 |
|
Thailand
คุณธีรเดช: 081-454-8165
คุณพิชัย: 081-634-9181
คุณศรีวรรณ : 081-281-7763
คุณเชาวณี : 092-269-8964
.jpg)
"ตัวแทนจำหน่าย"
เวียงจันทน์ สปป.ลาว
บ้านโพนสีนวน ถ.โพนสีนวน เมืองสีสัดตะนาก
คุณไล: 020 5551 7063
คุณโด่ง: 020 5511 1767
คุณพิชัย: 020 5636 4549
|
Email: |
trisonAsia@gmail.com |
|

|

ฉนวนกันความร้อน/พ่นโฟมกันสนิม
.jpg)
ฉนวนโพลียูรีเทนโฟม หรือ พี.ยู.โฟม นอกจากจะนำมาใช้เป็นฉนวนกันความร้อนแล้วยังใช้ประโยชน์ช่วยป้องกันสนิมด้วย
ฉนวนกันความร้อน ฉนวนกันสนิมหรือพ่นโฟมกันสนิม ครบเครื่องในเรื่องฉนวนกันความร้อน,ฉนวนกันสนิม, ฉนวนกันความชื้น, ไม่ว่าจะเป็นการติดตั้งใหม่ หรือแก้ไขงานเก่าที่ถูกทิ้ง ปัญหาสนิมกัดกร่อนโรงงาน หมดปัญหาเรื่องสนิมกัดกร่อนหลังคาเหล็กและโครงสร้างเหล็ก ลดมลพิษทางความร้อนและปัญหาสนิมกัดกร่อนเหล็ก ปรึกษาเบื้องต้นฟรี โดยทีมงานมืออาชีพที่มีความเชี่ยวชาญสูง
ความหมายของฉนวนกันความร้อน
ฉนวนกันความร้อนโดยทั่วไปหมายถึง วัตถุหรือวัสดุที่มีความสามารถในการสกัดกั้นความร้อนไม่ให้ส่งผ่านจากด้านใดด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่งได้ง่าย การส่งผ่านความร้อนจากด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่งของวัสดุใดๆ หรือการถ่ายเทความร้อน ( Heat Transfer ) ระหว่างวัตถุสามารถเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่ออุณหภูมิของวัตถุทั้งสองมีความแตกต่างกัน ซึ่งลักษณะการถ่ายเทความร้อนนั้นมี 3 วิธี โดยอาจเกิดขึ้นจากวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายๆ วิธีพร้อมกันได้แก่ฉนวนกันความร้อนมีหลากหลายชนิด ประยุกต์ใช้ตามลักษณะของงานและวัสดุที่จะใช้ฉนวนกันความร้อน รวมถึง วัตถุประสงค์ของการใช้งานและงบประมาณของราคาที่ผู้ใช้ตั้งไว้ด้วย การเลือกใช้ฉนวนกันความร้อนกับผิววัสดุแต่ละชนิดหนาบางไม่เท่ากัน ผู้ที่จะติดตั้งฉนวนกันความร้อนต้องวิเคราะห์และเข้าใจเนื้องานก่อนวางแผนลงมือทำการติดตั้งฉนวนกันความร้อนในขั้นตอนสุดท้าย เพื่อให้งานออกมาดีและได้ผลตามเกณฑ์มาตรฐานที่มีประสิทธิภาพเต็มร้อย ดังนั้นจะเห็นว่าการที่จะติดตั้งฉนวนกันความร้อนสักงานหนึ่งนั้นไม่ว่างานเล็กหรืองานใหญ่ขนาดใดก็ตาม ถ้าต้องการให้ออกมาดีมีคุณภาพได้มาตรฐานนั้น ต้องใช้ผู้ที่มีประสบการณ์ในการติดตั้งฉนวนกันความร้อนที่มีความเชี่ยวชาญและชำนาญสูงจริง ๆ ผลงานจึงจะออกมาได้ดีดั่งที่ต้องการและได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่
- การนำความร้อน ( Conduction )
- การพาความร้อน ( convection )
- การแผ่รังสีความร้อน ( Radiation)
ฉนวนกันความร้อนมีหลายชนิดหลายประเภท ขึ้นอยู่กับการนำไปใช้งานดังนี้
ฉนวนกันความร้อน หมายถึง วัสดุหรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้เพื่อลดการถ่ายเทความร้อนผ่านโครง สร้างจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่งโดยที่อุณหภูมิทั้งสองด้านจะต้องแตกต่างกันแล้วทำให้เป็นเส้นใยด้วยวิธีบลาสต์ (blast method) วิธีหมุนเหวี่ยง (centrifugal method) วิธีร็อด (rod method) หรือวิธีพอต (pot method) วิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลายวิธีรวมกัน โดยใช้สารยึด (binding agent) ช่วยยึดเส้นใยแก้วให้เกาะเป็นแผ่น (glass wool board) ม้วน ท่อ (glass wool pipe) หรือรูปแบบอื่นๆ โดยมีวัสดุที่เหมาะสมปิดทับผิวหน้าด้วยหรือไม่ก็ได้
การเลือกใช้ฉนวนกันความร้อนในแต่ละประเภท
ในการเลือกใช้ ฉนวนกันความร้อนให้ถูกต้องจำเป็นต้องเข้าใจถึงกลไกที่เกิดขึ้นภายในฉนวนกันความร้อน ประเภทต่างๆ ก่อน ฉนวนกันความร้อนโดยทั่วไปแล้ว เป็นวัสดุที่ประกอบด้วยช่องโพรงเล็กๆ ( Close cell ) และช่องอากาศภายในวัสดุที่มีลักษณะเป็นแบบปิดทึบ ( Totally Enclosed ) เรียกว่า ฉนวนมวลสาร ( Mass Insulation ) นั่นเอง ช่องเล็กๆ เหล่านี้อาจเกิดขึ้นจากเกล็ด ( Flakes ) เส้นใย ( Fibers ) ปมแข็ง ( Nodules of Solids ) หรือเซลล์ของตัววัสดุนั้นเอง ยกเว้นฉนวนสะท้อนความร้อน ( Reflective Insulation ) ดังนั้นการเลือกใช้ฉนวนกันความร้อนแบบใดนั้น ต้องปรึกษาผู้รู้หรือกูรูมืออาชีพในงานที่เกี่ยวข้องกับฉนวนกันความร้อนก่อน เพื่อวิเคราะห์ถึงภาพโดยรวม ซึ่งจะทำให้การออกแบบฉนวนกันความร้อนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและถูกต้องตามหลักวิชาการ ประการสำคัญผลประโยชน์ต่างๆที่ได้รับจะตกอยู่กับเจ้าของอาคารสถานที่หรือโรงงานที่ติดตั้งฉนวนกันความร้อนโดยตรง คุ้มค่ากับการลงทุนติดตั้ง ได้รับประโยชน์เต็มเม็ดเต็มหน่วยตามที่ต้องการ
สิ่งที่ต้องพิจารณาในการเลือกใช้ฉนวนกันความร้อนในขั้นต้นมีดังนี้
1. ประเภทของวัสดุ ควรเลือกทำจากวัสดุที่มีลักษณะเป็นโพรงอากาศอยู่ภายใน เพราะคุณสมบัติของเส้นใยที่โยงใยขัดกันทำปฏิกิริยากับอากาศ เป็นตัวช่วยในการลดอุณหภูมิได้สูงมากกว่าวัสดุที่ใช้หลักการสะท้อนความร้อน เพราะเมื่อหมดความมันเงา จากการโดนฝุ่นหรือสิ่งสกปรก จะทำให้ประสิทธิภาพในการสะท้อนความร้อนลดลงหรือเสื่อมลงไปทันที
2. ประสิทธิภาพการต้านทานความร้อน ฉนวนกันความร้อนที่ดีต้องระบุค่าต้านทานความร้อน (ค่า R) หากไม่มีการระบุไว้ก็ไม่ควรจะเลือกใช้ ยิ่งค่าต้านทานความร้อน ค่า Rสูงมากเท่าไรก็จะยิ่งมีประสิทธิภาพในการกันความร้อนได้สูงมากเท่านั้น
3. ระบบการติดตั้ง ควรเลือกระบบการติดตั้งแบบใช้การฉีดพ่น เพราะจะทำให้เกิดช่องว่าง หรือรอยต่อ (GAP) น้อยที่สุด เพราะระบบนี้จะทำให้เนื้อของฉนวนกันความร้อนสามารถเข้าไปได้ทุกซอก ทุกมุม ได้ทุกรูปแบบของงานสถาปัตยกรรม จากการวิจัยพบว่า หากเกิดช่องว่างที่ฉนวนแม้เพียง 5% จะทำให้ประสิทธิภาพค่าต้านทานความร้อนลดลงไปได้ถึง 50%
4. คุณสมบัติอื่น ๆ เช่น ฉนวนชนิดนี้มีอายุการใช้งานมากน้อยแค่ไหน มีใบรับประกันคุณภาพหรือไม่ มีสารพิษที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือไม่
เมื่อท่านติดตั้งฉนวนความร้อนหรือฉนวนกันความร้อนแล้วจะประหยัดเท่าใด ?
การหุ้มฉนวนความร้อนหรือฉนวนกันความร้อน จะส่งผลให้ลดการสูญเสียความร้อนทางพื้นผิวของวัตถุได้ ประมาณ 95 % ของการสูญเสียความร้อนทางพื้นผิว ซึ่งผลประหยัดจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการเลือกใช้ ชนิดและความหนาของฉนวนความร้อน ดังนั้นเมื่อลงทุนหุ้มฉนวนพื้นผิววัตถุแล้ว ระยะเวลาคืนทุนจะมากหรือน้อย จะขึ้นอยู่กับอุณหภูมิพื้นผิวของวัตถุ , ชั่วโมงการใช้งาน และค่าเชื้อเพลิง ซึ่งปกติการพ่นฉนวนความร้อนหรือฉนวนกันความร้อนจะมีระยะเวลาคืนทุนไม่เกิน 2 ปี
ข้อมูลทางเทคนิคของ P.U INSULATION R.F
USE |
INSULATION F0R ROOF |
PROPERTIES |
DENSITY |
ISO 844 FREE RISE 35 Kg/m 3 |
THERMAL CoNDUCTIVITY |
ASTM C-177 <0.019-0.020 W/m K |
CLOSED CoNTENTS |
ASTM D-2855>90% |
WATER ABSORPTION |
ASTM D-2842 AVE 20% ( BY VOL. ) |
CoMPRESSIVE STRENGTH |
ISO 845 1.5-2.0 Kg/cm 3 |
FLAMMABILITY |
DIN 4102 GRADE B2 |
ASTM D-1692 (W) <125 ( SE ) mm. |
BLOWING AGENT |
NEW TYPE 141b ( NON CFC-11 ) |
K-FACTOR |
0.017 W/Mk |
R-VALUE |
8.482 hr F sq.ft. 1 “ THICKNESS/BTU ” |
ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติของฉนวนกันความร้อน P.U & Fiber Glass ที่ความหนา 1 นิ้ว
รายละเอียด ข้อเปรียบเทียบ / คุณสมบัติ |
ใยแก้ว (FG)
Fiber Glass |
โพลี่ยูรีเทนโฟม (PU)
Polyurethane F0am |
สภาพนำความร้อนปรากฏ (K) W / m K |
0.05 |
0.017 |
สภาพต้านทานความร้อนปรากฏ (R) m K / W |
20.00 |
58.82 |
ความหนาแน่นของวัสดุ (D) Kg / m3 |
16.02 |
35 |
ความร้อนจำเพราะ (CP) kJ / Kg oC |
0.84 |
1.59 |
สภาพแพร่กระจายความร้อน m2 / S |
0.38 ´ 10 - 5 |
4.5´10 - 7 |
อุณหภูมิใช้งานสูงสุด oC |
540 |
120 |
สัมประสิทธิ์ของการขยายตัวทางความร้อน m2 oC |
- |
90 ´ 10 - 6 |
ความจุของเซลล์ที่ชิดกัน เปอร์เซ็นต์ |
- |
90 |
ค่าแทรกซึม ความชื้น pcrm - cm |
180 |
3.6 – 5.4 |
ค่าดูดซึมน้ำ เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก |
1 |
1.3 |
การกัดกร่อนวัสดุที่ถูกฉนวนหุ้ม |
ไม่มี |
ไม่มี |
สภาพการติดไฟ |
|
|
ระดับการกระจายของเปลวไฟ |
15 - 20 |
25 - 75 |
ระดับการมีส่วนของเชื้อเพลิง |
5 - 15 |
10 - 25 |
ระดับการเกิดควัน |
0 - 20 |
115 – 500 |
การเสื่อมสภาพลงจากผลของ |
|
|
อุณหภูมิที่เป็นวัฏจักร |
ไม่มี |
ไม่มี |
สัตว์จำพวกหนู หมัด ไส้เดือน นก ฯลฯ |
ไม่มี |
ไม่มี |
ความชื้น |
ชั่วคราว |
ไม่มี |
ฟังไจ / แบคทีเรีย |
ไม่มี |
ไม่มี |
สภาพอากาศ |
ไม่มี |
ไม่มี |
ลม |
พอสมควร |
ไม่มี |
ปัจจัยที่กระทบต่อคน |
|
|
กลิ่น |
ไม่มี |
ไม่มี |
ผด,ผื่น,คัน |
มี |
มี |
ผลกระทบของอายุต่อ |
|
|
เสถียรภาพของอนาคต |
จะยุบตัว การยุบตัวคือการเสื่อมสภาพ |
ไม่มี |
สมรรถภาพทางความร้อน |
ไม่มี |
ไม่มี |
สภาพการติดไฟ |
|
|
การดูดซับเสียง |
ดี |
ปานกลาง |
ตารางเปรียบเทียบค่า R กับค่า U
ฉนวนกันความร้อนหรือฉนวนป้องกันความร้อนโพลียูรีเทนโฟม
|
K-Factor |
R- Value |
W / m K
|
m2 K / W
|
hr ft2 FO / BTU
|
M2 hr CO / Kcal
|
1 นิ้ว
|
1.5 นิ้ว
|
2 นิ้ว
|
1 นิ้ว
|
1.5 นิ้ว
|
2 นิ้ว
|
1 นิ้ว
|
1.5 นิ้ว
|
2 นิ้ว
|
PU Foam
|
0.0170
|
1.4941
|
2.2412
|
-
|
8.4853
|
12.7280
|
-
|
1.7377
|
2.6065
|
-
|
Fiber Glass
|
0.0500
|
0.0508
|
-
|
1.0160
|
2.8850
|
-
|
5.7700
|
0.5908
|
-
|
1.1816
|
|
U – Value |
ความหนาแน่น
|
W / m2 K
|
BTU / hr ft2 F0
|
Kcal / m2 hr Co
|
1 นิ้ว
|
1.5 นิ้ว
|
2 นิ้ว
|
1 นิ้ว
|
1.5 นิ้ว
|
2 นิ้ว
|
1 นิ้ว
|
1.5 นิ้ว
|
2 นิ้ว
|
Fiber Glass = 16 กก./ม3
|
1.9685
|
-
|
0.9843
|
0.3466
|
-
|
0.1733
|
1.6926
|
-
|
0.8463
|
PU F0am = 35 กก./ม3
|
0.6693
|
0.4462
|
-
|
0.1179
|
0.0786
|
-
|
0.5755
|
0.3837
|
-
|
CONVERTION OF THERMAL CONDUCTIVITY UNIT (K – Factor)
1 Kcal / m hr CO |
= |
1.1630 W / m CO |
1 Kcal / m hr Co |
= |
0.6719 BTU / ft hr F0 |
1 W / m Co |
= |
0.5777 BTU / ft hr F0 |
1 W / m Co |
= |
6.9327 BTU / ft hr F0 |